|
www.sabaay.com ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ . . . เ พื่ อ คุ ณ saisuri http://line.naver.jp/ti/p/k7c2W4p6Nv | |
ห ลั บ ส บ า ย . . . . . . ทั้ ง ห ง า ย แ ล ะ ต ะ แ ค ง |
081-8177149 สอบถามกดลิงค์เลยค่ะ http://line.naver.jp/ti/p/k7c2W4p6Nv |
พีเค คลินิกกายภาพบำบัด 359/2-3. ซ.รอมคลองชักพระ แขวงบางขุนศรี บางกอกน้อย. กรุงเทพมหานคร 02-8809445 084-1318901 พีเค@GMM คลินิกกายภาพบำบัด ชั้น AA (13) อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) 02-6699987ต่อ 9987 กันยา คลินิกกายภาพบำบัด สาขาสิรินธร 02-4344111 https://www.facebook.com/kanyaptclinic/
สาขาเหม่งจ๋าย 02-2744471-2 https://th-th.facebook.com/Kanyamengjai/
สาขาอุดมสุข สุขุมวิท 103 โทร 02-1754943-4 https://www.facebook.com/kanyaptudomsuk/ สาขาพญาไท 080-5751108-9 https://www.facebook.com/kanyaphayathai/ สาขาประชาชื่น โทร: 02-591-5915 https://www.facebook.com/pg/kanya.pcc/posts/ สาขาเจริญราษฎร์ 084-656-1507 http://www.kanyapt.com/ สาขาเพชรเกษม 094-871-5557 http://www.kanyapt.com/ สาขานครอินทร์ 080-596-5875 , 080-596-9175 http://www.kanyapt.com/ สาขามีนบุรี โทร095-045-2496, 095- 004-5146 http://www.kanyapt.com/ http://sabaay.tht.in/article5.html คลินิกกายภาพบำบัดท่ามะกา กาญจนบุรี 034-543163 081-8177149 เปิด จันทร์-พุธ-ศุกร์ 17.30-20.00 น คลินิกกายภาพบำบัดอ่างทอง อ.เมือง อ่างทอง คุณธนภณ 089-9019351 092-2678202 ผู้ผลิตและจำหน่ายสมุนไพรเพื่อการรักษา โสมสะหวัน บัณฑิตคลินิกกายภาพบำบัดและจัดกระดูก อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี โทร 085-369-9977 Line: bunditclinic จันทร์-ศุกร์ 16.30น.-20.00น. เสาร์ 8.00น.-20.00น. อาทิตย์ 8.00น.-12.00น. บัณฑิตกายภาพบำบัด 151/2 หมู่ 8 ตรงข้าม7-11 คำนางรวย เยื้องรพ.วาริน ต.คำน้ำแซบ อ.วารินชำราบ อุบุลราชธานี 085-369 9977 ประภาพรรณ คลินิกกายภาพบำบัด 25 ถ.จามเทวี ต.เวียงเหนือ อ.เมือง ลำปาง 082-6931469 จันทร์ - ศุกร์ 9.00-20.00 น. เสาร์ - อาทิตย์ 9.00-17.00 น เมืองกาญจน์คลินิกกายภาพบำบัด เรดซิตี้ อ.เมือง กาญจนบุรี 034-915378 092-2960661 จันทร์-เสาร์ 9.00-20.00 น. อาทิตย์ 9.00-18.00 น คลินิกกายภาพบำบัดพนมทวน กาญจนบุรี 089-4134416 จันทร์-เสาร์ 8.30-16.00 น. คลินิกกายภาพบำบัด ปุริมกร 195 เลขที่40/5 หมู่ 3 ต ริมใต้ อ แม่ริม เชียงใหม่ โทร 083-9982629 จ- ศ 16.30-20.30 เสาร์ 9.00-16.00 อาทิตย์ 9.00-12.00 คลินิกกมนพรรธน์กายภาพบำบัด 45/1 ต.ป่าสะแก อ.เดิมบางนางบวช สุพรรณบุรี 086-8077522 087-7662861 จันทร์-ศุกร์ 16.30-20.00น. เสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ 6.00-20.00น อารี คลินิกกายภาพบำบัด 36/5 ม.1 ต.บางแก้ว อ.นครชัยศรี นครปฐม 095-595 2293 จันทร์-เสาร์ 8.30-20.00 น อาทิตย์ 9.00- 16.00 น P&B คลินิกกายภาพบำบัด อาคารพาณิชย์ติดถนนราชพฤกษ์ 85 หมู่ 5 ต.บางรักน้อย อ.เมือง นนทบุรี 091-734 6647 รักษ์กายคุณ คลินิกกายภาพบำบัด ต.บางตลาด อ. ปากเกร็ด นนทบุรี 02- 0007209 สมพิศ คลินิกกายภาพบำบัด อ.เมือง ปัตตานี 083-5128448 081-9697990 คณาคลินิกกายภาพบำบัด ระยอง 45/11 ถ.มาบยา อ.มาบตาพุด ระยอง 094-7787575 จันทร์-ศุกร์ 9.00-21.00น. เสาร์-อาทิตย์ 9.00-18.00น. ร้านนวลละออ สี่แยกปราณบุรี อ.ปราณบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 032-622209 089-4107365 คุณพัชรี โอวาทนุพัทธ์ 085-5162445 แผนกกายภาพบำบัด รพ.สมิติเวช ศรีนครินทร์ กรุงเทพ ผดุงศักดิ์ กายภาพบำบัดคลินิก ดำเนินสะดวก ราชบุรี และสาขาสมุทรสงคราม 081-4853968 สมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย
สภากายภาพบำบัด
|
ทำไมเราจึงต้องทดสอบการทรงตัวในผู้สูงอายุ? เมื่ออายุมากขึ้น ทำให้เกิดความเสื่อมของระบบต่างๆ ในร่างกาย เช่น ระบบมองเห็น ระบบการได้ยิน ระบบประสาท และระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ความเสื่อมต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้ ผู้สูงอายุมีความแข็งแรงลดลง ความสามารถในการทรงตัวลดลง ทำให้เกิดความเสี่ยง ในการพลัดตกหกล้มเพิ่มมากขึ้น การหกล้มในผู้สูงอายุ จะนำมาซึ่งปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย เช่นภาวะกระดูกหัก กระดูกเคลื่อนทับเคลื่อนทับเส้นประสาทและความพิการ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องประเมินตนเอง ทดสอบการทรงตัว เพื่อให้ทราบถึงระดับความเสี่ยงของการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ เพื่อหาวิธีและแนวทางการป้องกันที่เหมาะสม ปัจจัยที่มีผลต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ปัจจัยของตนเอง
ปัจจัยภายนอก & สิ่งแวดล้อม
การทดสอบการทรงตัวในผู้สูงอายุ Test 1: The 30-Second Chair Stand Test ลุก-นั่งเก้าอี้ 30 วินาที สำหรับผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) วิธีการทดสอบ 1. วางเก้าอี้ชิดผนังเพื่อป้องกันการเลื่อน แล้วนั่งตรงกลางเก้าอี้ หลังตรง มือกอดอก เท้าทั้งสองข้างวางห่างกันประมาณช่วงไหล่ 2. เริ่มการทดสอบโดยลุกขึ้นยืนตรง แล้วนั่งลงทันที พยายามทำอย่างต่อเนื่องและทำให้ได้จำนวนครั้งมากที่สุด ภายในเวลา 30 วินาที 3. การนับจำนวนครั้ง ให้นับช่วงที่ลุกขึ้นยืนตรง ตารางแสดงเกณฑ์มาตรฐานของการทดสอบลุก-นั่งเก้าอี้ 30 วินาที (ครั้ง) หญิง อายุ (ปี) 60-69 70-79 80-89 ดีมาก 22 ขึ้นไป 20 ขึ้นไป 17 ขึ้นไป ดี 20-21 18-19 15-16 พอใช้ 15-19 13-17 10-14 ค่อนข้างต่ำ 13-14 11-12 8-9 ต่ำ 12 ลงมา 10 ลงมา 7 ลงมา ชาย อายุ (ปี) 60-69 70-79 80-89 ดีมาก 25 ขึ้นไป 22 ขึ้นไป 20 ขึ้นไป ดี 23-24 20-21 18-19 พอใช้ 18-22 15-19 13-17 ค่อนข้างต่ำ 16-17 13-14 11-12 ต่ำ 15 ลงมา 12 ลงมา 10 ลงมา Test 2: The 4-Stage Balance Test การยืนเพื่อทดสอบการทรงตัว 4 แบบ สำหรับผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) วิธีการทดสอบ ยืนชิดผนังเพื่อป้องกันการเซ หรือมีผู้ดูแลยืนอยู่ด้วย 1. 2. 3. 4. 1. การยืนยันเท้าชิดกัน (Side by side stand) ภายในเวลา 10 วินาที 2. การยืนต่อเท้าครึ่งหนึ่ง (Semi tandem stand) ภายในเวลา 10 วินาที 3. การยืนต่อเท้าทั้งหมด (Full tandem stand) ภายในเวลา 10 วินาที 4. การยืนขาเดียว (One leg stand) ภายในเวลา 10 วินาที โดยหากแต่ละท่า ไม่สามารถยืนได้ หรือยืนได้นานน้อยกว่า 10 วินาที ถือว่ามีปัญหาการทรงตัวและเสี่ยงต่อการหกล้ม คำแนะนำ ท่าบริหารเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และความแข็งแรงของผู้สูงอายุ ท่าบริหารเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ ท่าบริหารเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ท่าบริหารเพื่อเพิ่มการทรงตัว | ||||||||
Copyright @ 2007, By : Sabaay.tht.in |